สถานที่ : อาคารเบเกอรี่
วิทยากรแกนนำ 1. นายสงัด ศรีผ่องงาม 2. นายชัยพร สืบนุการณ์ 1. วัตถุประสงค์ของแหล่ง / ฐานเรียนรู้ 1. เพื่อให้ลูกเสือทุกคนมีส่วนร่วมในการบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ 2. เพื่อให้ลูกเสือทุกคนเกิดเจตคติที่ดี่ในการพำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม 3. เพื่อให้ลูกเสือทุกคนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองในการบำเพ็ญประโยชน์ 4.
เพื่อให้ลูกเสือทุกคนเกิดแนวคิดและสร้างกระบวนการปฏิบัติงานที่ดีในการเป็นจิตอาสา 5. เพื่อให้ลูกเสือทุกคนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. ข้อมูลความรู้ ลูกเสือมีความเข้าใจในกระบวนการสร้างผลงานในรูปแบบของจิตอาสา
หลักการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม มีจิตสำนึกที่ดีในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
ตระหนักถึงคุณค่าในการปฏิบัติงานในรูปแบบของจิตอาสา มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ธำรงรักษาเผยแพร่ความเป็นไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชนต่อไป 3. วิธีการใช้ฐาน 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน
ความหมายและที่มาของลูกเสือจิตอาสา
กระบวนการปฏิบัติงานจิตอาสา
กิจกรรมที่ 1 ฝึกทักษะการแสวงหา กระบวนการสร้างงานจิตอาสา โดยจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1
ลูกเสือร่วมสนทนาถึงความสำคัญในการปฏิบัติงานจิตอาสา 1.2
ลูกเสือร่วมสร้างแนวทางรูปแบบการสร้างงานจิตอาสา
โดยกำหนดเป็นโครงสร้างที่มี รูปแบบการปฏิบัติงานที่ชัดเจนเป็นระบบ 1.3
ลูกเสือร่วมสร้างสมมติฐานแล้วร่วมสร้างผลงานตามเนื้อหาที่กำหนด 2. ขั้นสืบค้นความรู้ กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะการวางแผนงาน
2.1
ลูกเสือชมผลงานตัวอย่างการปฏิบัติงานจิตอาสา จากแหล่งสืบค้น
2.2 ลูกเสือร่วมสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการชมวิดิทัศน์
ลงในใบกิจกรรม 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้
3.1 ลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
และสาธิตกระบวนการปฏิบัติงานให้เป็นที่ประจักษ์
3.2 ลูกเสือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์
ในการสร้างงานจิตอาสา โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. ขั้นการสื่อสารและการนำเสนอ
กิจกรรมที่ 4 ขั้นสรุป
4.1
ลูกเสือสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม
4.2
ครูประเมินกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public
Service)
ลูกเสือเผยแพร่ผลงาน
สามารถสร้างเครือข่ายฐานการเรียนรู้ในโรงเรียนและสังคมได้ใช้ประโยชน์ต่อไป โดยดำเนินกิจกรรมการบริการสังคมดังนี้
5.1 เผยแพร่กระบวนการทำงานผู้ที่สนใจ
นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรและบุคคลทั่วไป
เมื่อมีโอกาสมาเยี่ยมผลงาน
5.2 เผยแพร่หลักการปฏิบัติงานโดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับการจัดกิจกรรม
ซึ่งสามารถวิเคราะห์การจัดกิจกรรม กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข นำไปสู่ความสมดุลยั่งยืนใน 4 มิติ 4. ตารางการปฏิบัติและเวลาที่ใช้ (120 นาที) กิจกรรมที่ 1 ฝึกทักษะการแสวงหา และรวบรวมข้อมูล
ลำดับ
|
การปฏิบัติ
|
เวลาที่ใช้
|
1
|
ชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ฐานการเรียนรู้
|
5
นาที
|
2
|
เรียนรู้ความเป็นมาของการสร้างงานจิตอาสา
|
10
นาที
|
3
|
เรียนรู้ปฏิบัติ
|
25
นาที
|
4
|
นำเสนอผลการเรียนรู้และสรุปผลการเรียน
|
10
นาที
|
กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะการวางแผน
ลำดับ
|
การปฏิบัติ
|
เวลาที่ใช้
|
1
|
ชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ฐานการเรียนรู้
|
5
นาที
|
2
|
เรียนรู้หลักการสร้างงานจิตอาสา
|
10
นาที
|
3
|
เรียนรู้ปฏิบัติ
|
25
นาที
|
4
|
นำเสนอผลการเรียนรู้และสรุปผลการเรียน
|
10
นาที
|
กิจกรรมที่ 3 สรุปองค์ความรู้
ลำดับ
|
การปฏิบัติ
|
เวลาที่ใช้
|
1
|
ชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ฐานการเรียนรู้
|
5
นาที
|
2
|
เรียนรู้วิธีการสร้างงานจิตอาสา
|
10
นาที
|
3
|
เรียนรู้ปฏิบัติฝึกซ้อมเป็นกลุ่ม
|
25
นาที
|
4
|
นำเสนอผลการเรียนรู้และสรุปผลการเรียน
|
10
นาที
|
กิจกรรมที่ 4 การสื่อสารและการนำเสนอ
ลำดับ
|
การปฏิบัติ
|
เวลาที่ใช้
|
1
|
ชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ฐานการเรียนรู้
|
5
นาที
|
2
|
เรียนรู้ทฤษฎีการสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง การสร้างงานจิตอาสา ทำแผนที่ความคิด ( Mind Mapping ) ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
10
นาที
|
3
|
เรียนรู้ปฏิบัติ
|
25
นาที
|
4
|
นำเสนอผลการเรียนรู้และสรุปผลการเรียน
|
10
นาที
|
|